หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การออกแบบและแก้ไขปัญหาระบบเครือข่าย
1.ความสำคัญของการออกแบบเครือข่าย
การออกแบบรูปราคาจะเป็นเรื่องที่มีความสำคัญอย่างมาก โดยเฉพาะการสร้างเครือข่ายในองค์กรขนาดใหญ่เนื่อง
จากถ้าดำเนินการสร้างโดยไม่มีการออกแบบหรือออกแบบโดยผิดพลาดจะมีผลทำให้ไม่สามารถตอบสนองความต้อง
การในการใช้งานได้อาจ จำเป็นต้องแก้ไขหรือปรับปรุงใหม่ทั้งระบบทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาล
การออกแบบเครือข่ายจะต้องพิจารณาปัจจัยหลายด้านประกอบด้วยกัน เช่น
*จำนวนเครื่องที่ต่อใช้งานในเครือข่ายและโอกาสขยายในอนาคต
* ระยะทางในการเชื่อมต่อเครือข่าย
* อุปกรณ์ที่จะนำมาใช้งาน
* แนวโน้มของเทคโนโลยี
* งบประมาณในการดำเนินการ
* ฯลฯ
โดยลักษณะการดำเนินการมี 2 ลักษณะคือ
1.จัดตั้งใหม่ทั้งหมด
ในกรณีจัดตั้งใหม่ทั้งหมดจะสามารถดำเนินการได้สะดวกกว่าเนื่องจากไม่ต้องศึกษาระบบเก่าที่ทำไว้ก่อนและ
สามารถวางแนวทางให้ครอบคลุมการใช้งานตามความต้องการได้ง่ายแต่จะต้องใช้อุปกรณ์ในการดำเนินการค่อนข้าง
สูงซึ่งในเรมีมีงบประมาณจำกัดจำเป็นต้องดำเนินการปีแล้วส่วนโดยดำเนินการจากส่วนกลางชั้นตอนที่มีความจำเป็น
สูงสุดก่อนจากนั้นค่อยจัดงบประมาณมาดำเนินการเชิงเส้นตัวที่เหลือหรืออาจพิจารณาแก้ไขโดยใช้เทคโนโลยีที่มี
ค่าใช้จ่ายต่ำมีพื้นที่ยังไม่มีความต้องการมากนักหรือมีปริมาณการใช้งานน้อยเพื่อลดงบประมาณ
2. เพิ่มเติมปรับปรุงจากระบบเดิม
ในกรณีนี้อาจเกิดจากระบบเดิมขับขี่ภาคทฤษฎีความต้องการขยายการใช้งานอันเกิดจากการขยายตัวขององค์กร
หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมด้านการแข่งขันทางธุรกิจซึ่งจำเป็นต้องเพิ่มเติมหรือปรับปรุงระบบงานให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้นและเพียงพอต่อการใช้งานเพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความเจ้านั้นนำมาพิจารณาว่าควรเพิ่มเติม
หรือปรับปรุงในส่วนใดแล้ววางแนวทางในการออกแบบในส่วนที่จะแก้ไขปรับปรุงลิฟท์ที่จะเพิ่มเติมเข้าไปให้มีความ
สอดคล้องสามารถรับรองกับโรงงานเดิมสามารถเชื่อมโยงการใช้งานกันได้อย่างไม่มีปัญหาและใช้งบประมาณในการ
ดำเนินต้องการและการแข่งขันด้านเทคโนโลยีดังกล่าวนี้อาจดำเนินการเพิ่มเติมหรือปรับปรุงใดใดจะต้องทำการศึกษา
ระบบเก่าที่ทำไว้รวมทั้งเก็บข้อมูลอุปกรณ์เครือข่ายที่ติดตั้งไว้เดิม จากนั้นนำมาพิจารณาว่า ความเพิ่มเติมหรือปรับปรุง
ในส่วนใดแล้ววางแนวทางในการออกแบบในส่วนที่จะแก้ไขปรับปรุงหรือที่จะเพิ่มเติมเข้าไปให้มีความสอดคล้อง
สามารถรองรับกับระบบงานเดิมสามารถเชื่อมโยงการใช้งานกันได้อย่างไม่มีปัญหาและใช้งบประมาณในการดำเนินการ
อย่างมีประสิทธิภาพ
2.ขั้นตอนการออกแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมีขั้นตอนพอสังเขปดังนี้
สำรวจความต้องการและลักษณะของข้อมูลที่ใช้งาน
สำหรับพื้นที่และสภาพแวดล้อมที่จะเชื่อมต่อเครือข่าย
นำข้อมูลการสำรวจมาวางแนวทางและออกแบบแผนผังการเชื่อมต่อเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการคำนวณค่าใช้จ่ายและปฏิบัติการติดตั้ง
สรุปงบประมาณเพื่อนำเสนอ
พิจารณาทางเลือกในการแก้ไขในกรณีมี ไม่เพียงพอ
ดำเนินการจัดซื้อและทางการติดตั้งตามแผนงานที่กำหนดให้
ติดตั้งซอฟต์แวร์แบบให้กำเนิดและตั้งค่าระบบเครือข่าย
ตรวจสอบการเชื่อมต่อและตรวจสอบการใช้งานในสภาพจริง
จัดเก็บข้อมูลในการดำเนินงานทั้งหมดและสรุปผลการดำเนินการ
การสำรวจความต้องการในพระองค์การสำรวจจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีจะนำมาเชื่อมต่อกับโรคต่างๆรวม
ไปถึงการคาดการณ์ในอนาคตอีก 3 ถึง 5 ปีข้างหน้าว่าจะขยายเพิ่มเป็นเท่าใดเพื่อจะได้ออกแบบระบบเครือข่ายไว้
รองรับการใช้งานได้ไม่ต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในอนาคตอันใกล้
การสำรวจลักษณะข้อมูลที่ใช้งานคือการพิจารณาข้อมูลในส่วนที่จะส่งผลเครือข่ายมีปริมาณมากเพียงใดและขนาด
ใหญ่แค่ไหนเช่นในกรณีข้อมูลที่ส่งถึงการมีลักษณะเป็นไฟล์ขนาดเล็กเช่นไฟล์เอกสารงานจากโปรแกรม Word
หรือ Excel และการส่งอีเมลระหว่างกันในลักษณะดังกล่าวสามารถเชื่อมเครือข่ายแบบ
Fast Ethernet ซึ่งมีความสามารถในการส่งข้อมูล 100 mbps เพื่อลดค่าใช้จ่ายแต่ถ้าข้อมูลที่ส่งผ่านเครือข่ายมีขนาด
ใหญ่และต้องการความต่อเนื่องในการ เพื่อลดค่าใช้จ่ายแต่ถ้าข้อมูลที่ส่งผ่านเครือข่ายมีขนาดใหญ่และต้องการความ
ต่อเนื่องในการส่ง เช่น ถ่ายภาพเคลื่อนไหวหรือไฟล์ภาพและเสียงที่ต้องแสดงพร้อมกันไหมลักษณะงานการเรียนรู้
แบบ e Learning หรือการประชุมโดยผ่านระบบ Video Conference ก็คนใช้เครือข่ายแบบ Gigabit Ethernet ซึ่ง
สามารถส่งผ่านข้อมูลได้รวดเร็วกว่านอกจากนี้ยังควรพิจารณาถึงลักษณะการใช้งานว่ามีลักษณะการจัดเก็บข้อมูลใน
ลักษณะรวม การให้บริการแบบ Client Server วิธีการให้บริการแบบกระจายในลักษณะ Peer to peer รวมทั้งระดับ
ความปลอดภัยของเครือข่ายที่ต้องการนำมาพิจารณาถึงโครงสร้างการเชื่อมต่อเพื่อให้บริการและซอฟต์แวร์ที่จะนำมาใช้
การสำรวจพื้นที่ทำโดยพิจารณาดำเนินการจัดวางเครื่องคอมพิวเตอร์และวัดระยะทางทางเชื่อมต่อเครือข่ายซึ่ง
อาจอยู่ภายในห้องเดียวกันหรือคนละชั้นคนละทางแล้วนำมาร่างแบบอย่างคร่าวคร่าวเพื่อนำไปพิจารณาในการเลือก
ซื้ออุปกรณ์เครือข่ายบอกลักษณะการเดินสายนำสัญญาณรวมไปถึงสื่อนำสัญญาณที่จะนำมาใช้เช่นการเชื่อมต่อ
เครือข่าย ภายในอาคารในระยะทางไม่เกิน 100 เมตรใช้สาย UTP ในการเชื่อมต่อแต่ถ้าระยะทางการเชื่อมต่อที่ไกล
กว่านี้หรืออยู่ภายนอกอาคารอาจใช้สายเชื่อมต่อบที่เป็นสายโคแอกเชียลหรือสายใยแก้วนำแสงแทนรวมไปถึงการ
เชื่อมต่อภายในอาคารในส่วนที่มีสัญญาณรบกวนสูงเช่นอยู่ใกล้สถานีวิทยุโทรทัศน์หรือใกล้เครื่องจักรที่มีการแพทย์
สัญญาณรบกวนอาจต้องใช้การเดินสายด้วยสายใยแก้วนำแสงแทน UTP
ในกรณีมีงบประมาณจำกัดไม่เพียงพอต่อการสร้างระบบสาธิตพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขแบบเช่นเปลี่ยนไป
ใช้เทคโนโลยีหรือเปล่าซึ่งมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าแต่ต้องพิจารณาว่าไม่มีผลกระทบต่อการใช้งานในส่วนนั้นมากนักหรือ
ไอศครีมวิธีจัดสร้างเป็นช่วงทีละส่วนโดยจะจัดลำดับความสำคัญเพื่อดำเนินการตามงบประมาณที่มี
3.ตัวอย่างการติดตั้งเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.1 การเชื่อมต่อเครือข่าย
ข้อดีการเชื่อมต่อเครือข่ายที่ต้องเชื่อมต่อเครื่อง คอมพิวเตอร์และมีระยะทางในการเชื่อมต่อไม่เกิน 100 เมตร
สามารถทำได้ง่ายโดยใช้สายเชื่อมต่อ UTP แบบไขว้เชื่อมต่อการแลนเข้าด้วยกันโดยไม่ต้องจัดหาอุปกรณ์อื่นมา
เพิ่มเติมสำหรับสอบแล้วใช้ซอฟต์แวร์ที่มีอยู่ภายในเครื่องซึ่งมีความสามารถรองรับเครือข่ายแบบ peer to peer
3.2การเชื่อมต่อเครือข่ายที่มีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง
การเชื่อมต่อในกรณีนี้อาจใช้วิธีการดำเนินการได้หลายวิธีโดยใช้โครงสร้างการเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Bus และ
แบบ Star แต่ที่นิยมใช้คือการเชื่อมต่อโดยใช้โทโปโลยีแบบ Star ในมาตรฐาน Fast Ethernet 100Baset
โดยต้องจัดหาอุปกรณ์ Sweet Heart ที่มีจำนวนช่องต่อพอที่พอเพียงพอกับจำนวนของเครื่องที่ใช้งานมาเป็นตัว
เชื่อมต่อสำหรับซอฟต์แวร์ใช้ซอฟต์แวร์ที่มีอยู่ภายในเครื่องซึ่งเป็นแบบ peer to peer หรือจัดหาซอฟต์แวร์สำหรับ
เครือข่ายโดยเฉพาะในกรณีต้องใช้แบบ Client Server
3.3 เชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างชั้น
ในกรณีที่มีการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากโดยจัดตั้งอยู่ในแต่ละชั้นของอาคารดำเนินการโดยใช้
Switch Hub เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในชั้นเดียวกันจากนั้นใช้วิธีพ่วงฮับ
การเชื่อมต่อในลักษณะดังกล่าวมีข้อดีคือระยะทางในการเชื่อมต่อจากทราบที่สุดแต่มีข้อเสียคืออาจเกิดปัญหา
การละล่าช้าของสัญญาณโดยเฉพาะการเชื่อมต่อระหว่างชั้นบนสุดและชั้นล่างสุดซึ่งต้องมีเส้นทางผ่านฮับหลายตัว
ดังนั้นอาจปรับปรุงดำเนินการใหม่
การเชื่อมต่อโดยวิธีนี้จะเชื่อมต่อครับแต่ละตัวเข้ากับ ฮับตัวหลัก ซึ่งควรใช้เป็นแบบ Cut Through เพื่อให้ส่งผ่าน
ข้อมูลระหว่างฮับได้รวดเร็ว สามารถแก้ปัญหาการหน่วงของสัญญาณ
3.4การเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างอาคาร
การเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างอาคารโดยทั่วไปจะใช้สายนำสัญญาณแบบเยอรมันแสงเชื่อมต่อระหว่าง
ฮับรับของแต่ละหาดเขาด้วยกัน
4.ปัญหาของระบบเครือข่ายและแนวทางการแก้ไข
จากการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ผู้ใช้งานจะพบกับปัญหาหลายรูปแบบที่เกิดจากสาเหตุต่างๆ
มากมายหลายสาเหตุและบางอาการเป็นปัญหาที่แก้ไขได้โดยง่ายบางอาการเป็นปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนเกิน
กว่าจะใช้ความรู้และเครื่องมือพื้นฐานในการแก้ไขแต่การได้ศึกษาเรียนรู้ถึงปัญหาและสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น
บ่อยๆจะช่วยให้การแก้ไขปัญหาทำได้ง่ายขึ้นซึ่งปัญหาบังเบื้องต้นในการใช้งานเครือข่ายที่พบบ่อยครั้งอาจเกิดมา
จากปัญหาเหล่านี้
4.1 ปัญหาที่เกิดจากสายสัญญาณ
ปัญหาที่เกิดจากสายสัญญาณมันว่าปัญหาที่พบ บ่อยในการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งถ้าหากเป็นสาร
ประเภท Fiber Optic เราอาจจะไม่สามารถตรวจสอบหรือแก้ไขได้ด้วยตัวเองเพราะต้องใช้เครื่องมือและเทคโนโลยี
ค่อนข้างสูงและมีราคาในส่วนสายสัญญาณแบบ Coazial ปัจจุบันไม่นิยมนำมาใช้งานแต่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตนิยม
ใช้สายสัญญาณประเภท Un-shield Twisted Pair หรือสาย utp ซึ่งการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาจะทำได้ค่อนข้าง
ง่ายการวัดสายสัญญาณและการวิเคราะห์ปัญหาจุดเสียของสาย utp สามารถทำได้ด้วยอุปกรณ์เครื่องมือสำหรับเข้า
หัว RJ-45 และอุปกรณ์ตรวจสอบ utp Lan cable Tester ก็เพียงพอ
ปัญหาของสายสัญญาณ utp ส่วนมากเกิดขึ้นจากการเข้าหัวสายไม่ดีปัญหาสายคลัชไหนทำให้ เชื่อมต่อกัน
ไม่ได้ปัญหาการจัดเรียงสีของสายสัญญาณไม่เป็นไปตามมาตรฐานและปัญหาการนำสายสัญญาณเชื่อมต่อระหว่าง
อุปกรณ์ไม่ถูกต้องตามประเภทของสายเช่นใจแบบสายไขว้ที่ต้องเชื่อมต่อตรงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง
ให้สามารถติดต่อได้โดยตรงไม่ต้องผ่าน Hub หรือ Switch เท่านั้นอีกปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับเครือข่ายซึ่งมีสาเหตุ
จากสายสัญญาณคืออายุการใช้งานของสายที่นำมาใช้งานมีปัญหาเรื่องการลดประสิทธิภาพของเครือข่ายเท่านั้น
ไม่รุนแรงถึงขนาดใช้งานระบบเครือข่ายไม่ได้
นอกจากนี้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับสายสัญญาณ utp คือการถูกรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าการแก้ไขควรมีการตรวจ
สอบบริเวณที่มีการวางสายว่าจะถูกรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้หรือไม่เช่นการวางสายสัญญาณไว้ใกล้กับสาย
ไฟฟ้าเป็นต้น
4.2 การใช้คำสั่ง Ping ตรวจสอบปัญหาเครือข่าย
ปัญหาในระดับ Network layer เป็นปัญหาเกี่ยวกับ IP โปรโตคอลซึ่งเกิดปัญหาในการเชื่อมต่อภายใต้เลขหมายเลข
IP Address ในการตรวจสอบปัญหาปกติเราใช้คำสั่งทิ้งแล้วตามด้วยหมายเลข IP Address ของเครื่องปลายทางที่
ต้องการติดต่อเพื่อการตรวจสอบการเชื่อมต่อส่วนใหญ่จะพบปัญหาที่เกิดขึ้นดังต่อไปนี้
1 ปัญหาใช้คำสั่ง Ping เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายในเครือข่ายเดียวกันได้
2 ไม่สามารถใช้คำสั่ง Ping คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ต่างเครือข่ายได้
3 ไม่สามารถใช้คำสั่ง Ping ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันได้แต่สามารถใช้คำสั่งทิ้งหมายเลข
IP Address ได้
4.3 การใช้คำสั่ง Tracert ปัญหาเครือข่าย
การใช้คำสั่ง Tracert ในการตรวจสอบปัญหาเครือข่ายเป็นการใช้คำสั่งที่จะช่วยให้เราสามารถติดตามดูเส้นทาง
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ Router ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางได้โดยการใช้คำสั่ง Tracert ก็เพื่อที่จะประเมินว่า
การเชื่อมต่อบนเส้นทางไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางนั้นเกิดปัญหาติดขัดหรือไม่การทำงานของคำสั่ง Tracert
เป็นการ ส่ง Packet ICMP ( Internet Control Message Protoc) ออกไปในแต่ละครั้งจะมีการเพิ่มค่า
T T L am Tour Life 1 ค่าจนถึงค่าที่กำหนดหรือได้รับการตอบรับจากเราเตอร์ซึ่งโดยปกติมันจะเริ่มส่ง Packet
ไปยัง Gateway ก่อนเมื่อได้รับการตอบรับกลับมามันจึงจะทำการส่ง Packet ไปยังเราเตอร์ตัวถัดไปตามเส้นทางจน
ถึงเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครื่องเครือข่ายปลายทางที่ต้องการติดต่อหรือจนกว่าจำนวน Hop เกินจากที่
กำหนดไว้ซึ่งปกติค่าสูงสุดจากกำหนดไว้ที่ 305 Hops