วันอาทิตย์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

บทที่ 8 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย


1.ระบบปฏิบัติการเครือข่าย  Network operating system

จากพัฒนาการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มต้น
ด้วยการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่เรียกว่าคอม  dumb Termina เข้ากับเครื่องเมนเฟรมจนปัจจุบันอุปกรณ์ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเครื่อง workstation เครื่อง Server อุปกรณ์ Router Switch
และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจำเป็นต้องแชร์ข้อมูลซึ่งกันและกันข้อมูลที่แชร์นั้นต้องการ
ระบบรักษาความปลอดภัยและการบริหารจัดการที่ดีจึงได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่าระบบปฏิบัติการเครือข่าย
หรือ n o s Network operating system เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการเครือข่ายซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆมากมาย
ระบบปฏิบัติการในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือสิ่ง System จะทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการเข้าใช้ทรัพยากรต่าง
ๆของโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและ
การเข้าใจทรัพยากรผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายจำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการเพื่อ
ที่จะทำหน้าที่ทั้งจัดการทรัพยากรภายในคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายโดยปกติแล้วเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรือ
เครื่องเซิร์ฟเวอร์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะติดตั้งระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่จะสามารถบริหารจัดการบริการหลัก
ของระบบเครือข่ายได้ดังนี้คือ
1.1 บริการไฟล์ข้อมูลและการพิมพ์ File and print Service
1.2 บริการดูแลจัดการระบบ Managerment Service
1.3บริการรักษาความปลอดภัย  Security Service
1.4 บริการอินเตอร์เน็ตและอินเทอร์เน็ต (Internet and Intranet Services)
1.5 บริการมิลติโพเซสซิงและคลัสเตอร์ริง


2.ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ netware

 ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่มีผู้นิยมใช้ในงานระบบเครือข่ายมากสำหรับเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเน็ตแรงเขตได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายรุ่นแรกพัฒนาโดยบริษัทโนเบลจัดเป็น
ระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่ทำภายใต้ ms-dos ในปี 1986 มีผู้ใช้เน็ตในเครือข่ายที่ใช้เครื่องพีซี  ประมาณ 85 เปอร์เซ็นต์

    ตัวละครหลักที่สนับสนุนประสบความสำเร็จคือ IPS (Internetwork Packet Exchange ) และ
SSPX (Sequenced Packet Exchange) โปรโตคอล PIX ให้บริการแบบคอนเน็กซันเลสส์ และใช้สำหรับการนำ
ส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยทำงานในเลเยอร์ที่ 3 เมื่อเทียบกับ 8 อ้างอิง O SI ส่วน spx จะให้บริการแบบ
connection โอเรียนเต็ดและทำงานในเลเยอร์ที่ 4 ของแบบอ้างอิง OSI การทำงานร่วมกันระหว่าง IPS และ SPX
ทำให้ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ประสบความสำเร็จอย่างมากเนื่องจาก Microsoft ใช้โปรโตคอล NetBUEI  
ในระบบเครือข่ายในโปโตคอล NetBUEI ไม่สามารถจัดการเส้นทางข้อมูลได้ดังนั้นเครือข่ายของ Microsoft จึงทำงาน
ได้เฉพาะในเครือข่ายท้องถิ่นเท่านั้นในขณะที่ Network ซึ่งใช้โปรโตคอล  IPS และ SPX สามารถจัดการเส้นทางข้อมูล
ได้จึงทำให้เน็ตและสามารถใช้ได้กับเครื่องที่มีขนาดใหญ่กว่าได้


3.ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ 

ระบบปฏิบัติการนี้มีชื่อว่า UNICS ย่อมาจาก Uniplexed Information and Computing System เนื่องจากว่าการออกเสียงสามารถสะกดได้หลายแบบ และพบปัญหาชื่อใกล้เคียงกับ Multics ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น Unix
การพัฒนายูนิกซ์ในช่วงนี้ยังไม่ได้รับความสนับสนุนด้านการเงินจาก Bell Labs เมื่อระบบพัฒนามากขึ้น Thompson และ Ritchie จึงสัญญาว่าจะเพิ่มความสามารถในการประมวลผลคำ (Word Processing) บนเครื่อง PDP-11/20 และเริ่มได้รับการตอบรับจาก Bell Labs ในปีค.ศ. 1970 ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงได้รับการเรียกชื่ออย่างเป็นทางการ โปรแกรมประมวลผลคำมีชื่อว่า roff และหนังสือ UNIX Programmer's Manual ตีพิมพ์ครั้งแรกวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1971
ค.ศ. 1973 ได้เขียนยูนิกซ์ขึ้นมาใหม่ด้วยภาษาซีใช้ได้ทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มินิคอมพิวเตอร์และเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกัน ดังนั้น ยูนิกส์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน ลักษณะการติดต่อกับผู้ใช้เป็นทั้งแบบ Command-line และ GUI ทำให้สะดวกต่อการนำยูนิกซ์ไปทำงานบนเครื่องชนิดอื่นมากขึ้น ทาง AT&T ได้เผยแพร่ยูนิกซ์ไปยังมหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล โดยสัญญาการใช้งานเปิดเผยซอร์สโค้ด ยกเว้นเคอร์เนลส่วนที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลี
ยูนิกซ์เวอร์ชัน 4,5 และ 6 ออกในค.ศ. 1975 ได้เพิ่มคุณสมบัติ pipe เข้ามา ยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 ซึ่งเป็นเวอร์ชันสุดท้ายที่พัฒนาแบบการวิจัย ออกในค.ศ. 1979 ยูนิกซ์เวอร์ชัน 8,9 และ 10 ออกมาในภายหลังในทศวรรษที่ 80 ในวงจำกัดเฉพาะมหาวิทยาลัยบางแห่งเท่านั้น และเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ Plan 9
ค.ศ. 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูกของ AT&T ชื่อว่า Western Electric ยังคงนำยูนิกซ์รุ่นเก่ามาขายอยู่เช่นกัน เพื่อยุติความสับสนทางด้านชื่อ AT&T จึงรวมการพัฒนาทั้งหมดจากบริษัทและมหาวิทยาลัยต่างๆใน Unix System V ซึ่งมีโปรแกรมอย่าง vi ที่พัฒนาโดย Berkeley Software Distribution (BSD) จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์รวมอยู่ด้วย ยูนิกซ์รุ่นนี้สามารถทำงานได้บนเครื่อง VAX ของบริษัท DEC
ยูนิกซ์รุ่นที่เป็นการค้าไม่เปิดเผยซอร์สโค้ดอีกต่อไป ทางมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ จึงพัฒนายูนิกซ์ของตัวเองต่อเพื่อเป็นทางเลือกกับ System V การพัฒนาที่สำคัญที่สุดคือเพิ่มการสนับสนุนโพรโทคอลสำหรับเครือข่าย TCP/IP เข้ามา
บริษัทอื่นๆ เริ่มพัฒนายูนิกซ์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบของตนเอง โดยส่วนมากใช้ยูนิกซ์ที่ซื้อสัญญามาจาก System V แต่บางบริษัทเลือกพัฒนาจาก BSD แทน หนึ่งในทีมพัฒนาของ BSD คือ Bill Joy มีส่วนในการสร้าง SunOS (ปัจจุบันคือ โซลาริส) ของบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์
ค.ศ. 1981 ทีมพัฒนา BSD ได้ออกจากมหาวิทยาลัยและก่อตั้งบริษัท Berkeley Software Design, Inc (BSDI) เป็นบริษัทแรกที่นำ BSD มาขายในเชิงการค้า ในภายหลังเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ FreeBSDOpenBSD และ NetBSD
AT&T ยังคงพัฒนาความสามารถต่างๆ เข้าสู่ยูนิกซ์ System V และรวมเอา Xenix (ยูนิกซ์ของบริษัทไมโครซอฟท์) , BSD และ SunOS เข้ามารวมใน System V Release 4 (SVR4) เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งเดียวสำหรับลูกค้า ซึ่งเพิ่มราคาขึ้นอีกมาก
หลังจากนั้นไม่นาน AT&T ขายสิทธิ์ในการถือครองยูนิกซ์ให้กับบริษัทโนเวลล์ และโนเวลเองได้สร้างยูนิกซ์ของตัวเองที่ชื่อ UnixWare ซึ่งพัฒนามาจากระบบปฏิบัติการ NetWare เพื่อแข่งกับระบบปฏิบัติการวินโดวส์เอ็นทีของไมโครซอฟท์
ค.ศ. 1995 โนเวลขายส่วนต่างๆ ของยูนิกซ์ให้กับบริษัท Santa Cruz Operation (SCO) โดยโนเวลยังถือลิขสิทธิ์ของยูนิกซ์ไว้ ค.ศ. 2000 SCO ขายสิทธิ์ส่วนของตนเองให้กับบริษัท Caldera ซึ่งเปลี่ยนชื่อภายหลังเป็น SCO Group ซึ่งเป็นสาเหตุในการดำเนินคดีละเมิดลิขสิทธิ์กับลินุกซ์
ปัจจุบันยูนิคเป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของหน่วยงานที่ชื่อ The Open Group ซึ่งจะทำการกำหนดและรับรอง
มาตรฐานของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ 2 ลักษณะคือ
1.ระบบปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน Unit คือระบบปฏิบัติการที่ใช้มาตรฐานของ The Open ในการพัฒนา
ขึ้นมา เช่น Digital UNIX,SCO Unix,IBM’s OpenEdition MVS
2.ระบบปฏิบัติการคล้ายๆ UNIX (UNIX Compatible) เป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะคล้ายระบบ
UNIX แต่ไม่ได้จดทะเบียน รับรองเป็นทางการ เช่น Sun Solaris,IBM AIX,Linux

4.ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์

ลินุกซ์ (อังกฤษLinux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (อังกฤษGNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน
เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซีเริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ
ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft
การทำงานของระบบปฏิบัติการ Linux สามารถที่จะทำงานได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูง เช่น
เครื่องแม่ข่ายหรือเซิร์ฟเวอร์จนถึงเครื่องสมรรถนะที่ทำงานเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งเป็นเครื่องที่ไม่จำเป็น
ต้องมีคุณสมบัติสูงกว่าเครื่องทั่วไป
ระบบปฏิบัติการ Linux เป็นระบบปฏิบัติการโอเพ่นซอร์ส (Open  Source) คือเป็นระบบเปิด Open System จึงมีหลาย
บริษัทนำ Linux ไปพัฒนาเช่นและ ไปพัฒนาเช่น Rad Hat, Caldera,Mandrake เป็นต้น โดย Rad Hat Linux
จะได้รับความนิยมในการใช้งานค่อนข้างมากซึ่ง Rad Hat ยังแบ่งออกเป็นหลายเวอร์ชั่นเช่น Rad hat Linux 9,
 Rad hat Linux 9 Profedsional และ  Rad hat Enterprise Linux  เป็นต้น





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ใบงานบทที่ 1

ใบงานบทที่ 1 1. การสื่อสารข้อมูล ( Data  Communication)  คือ 2. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลประกอบ 3. รูปแบบในการรับส่ง...