บทที่ 7 เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
1 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตวิธีการใช้งานเมื่อปีพ. ศ. 2512 เมื่อองค์กรอาพาร์ ตั้งขึ้นโดยคณะวิจัยของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ
อเมริกาได้ทำการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของกระทรวงกลาโหมกับมหาวิทยาลัยและองค์กรต่างๆเข้าด้วยกัน
โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการเชื่อมต่อหลายเส้นทางผ่านระบบเครือข่าย
บางส่วนถูกทำร้ายเนื่องจากสงครามระบบเครือข่ายในส่วนที่เหลือยังสามารถใช้งานได้เปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันได้
โดยเรียกระบบเครือข่ายนี้ว่าอาร์พาเน็ต
อเมริกาได้ทำการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของกระทรวงกลาโหมกับมหาวิทยาลัยและองค์กรต่างๆเข้าด้วยกัน
โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการเชื่อมต่อหลายเส้นทางผ่านระบบเครือข่าย
บางส่วนถูกทำร้ายเนื่องจากสงครามระบบเครือข่ายในส่วนที่เหลือยังสามารถใช้งานได้เปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันได้
โดยเรียกระบบเครือข่ายนี้ว่าอาร์พาเน็ต
เน็ตเริ่มต้นต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเพียงไม่กี่เครื่องและได้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในปี พ.ศ. 2523
ได้มีการจัดตั้งกองทุนเอ็นเอสเอฟ เข้ามาสนับสนุนการพัฒนา หลังจากกระทรวงกลาโหมของสหรัฐได้งดเงินทุน
ในการสนับสนุน เอ็นเอฟเอสได้พัฒนาระบบเครือข่าย โดยแก้ไขข้อบกพร่องของระบบอาพาเน็ตและทำการตั้ง
ชื่อระบบใหม่ที่ได้พัฒนาขึ้นว่า เอ็นเอสเอฟเน็ต นอกจากนี้ยังได้เชื่อมโยงเครือข่ายอาร์พาเน็ตเอ็นเอสเอฟเน็ต
ระบบเครือข่ายอื่นๆ เรียกการเชื่อมโยงดังกล่าวว่าอินเตอร์เน็ต ระบบอินเตอร์เน็ตได้มีการขยายการใช้งานปฏิบัติ
และคอมพิวเตอร์จำนวนหลายล้านเครื่องซึ่งแยกเป็นเครือข่ายย่อยในระบบอินเทอร์เน็ตจำนวนมากเข้าด้วยกัน
โดยเครือข่ายย่อยอาจมีรูปแบบแต่ต่างกัน แต่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและทำงานร่วมกันได้
เครือข่ายอนเทอร์เน็ตในประเทศไทยเริ่มต้นเมื่อปี พศ. 2529 สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ส้รางเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นครั้งแรกที่มีความเร็วสูง 1200-2400 Baud และได้เปลี่ยนไปใช้บริการไทยแพคของการสื่อสารแห่งประเทศไทยซึ่งใช้เทคโนโลยี X.25 ผ่ารการหมุดโทรศัพท์ไปยังศูนย์บริการของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ทำการรับส่งอีเมลกับมหาวิทยาลัยโตเกียว และมหาลัยเมล์เยิร์นโดยใช้โปรแกรม UUCP ตลอดจนส่งอีเมล์ไปยังบริษัท UUNET ที่เวอร์จีเนีย สหรัฐอเมริกาได้มีการจัดตั้งกองทุนเอ็นเอสเอฟ เข้ามาสนับสนุนการพัฒนา หลังจากกระทรวงกลาโหมของสหรัฐได้งดเงินทุน
ในการสนับสนุน เอ็นเอฟเอสได้พัฒนาระบบเครือข่าย โดยแก้ไขข้อบกพร่องของระบบอาพาเน็ตและทำการตั้ง
ชื่อระบบใหม่ที่ได้พัฒนาขึ้นว่า เอ็นเอสเอฟเน็ต นอกจากนี้ยังได้เชื่อมโยงเครือข่ายอาร์พาเน็ตเอ็นเอสเอฟเน็ต
ระบบเครือข่ายอื่นๆ เรียกการเชื่อมโยงดังกล่าวว่าอินเตอร์เน็ต ระบบอินเตอร์เน็ตได้มีการขยายการใช้งานปฏิบัติ
และคอมพิวเตอร์จำนวนหลายล้านเครื่องซึ่งแยกเป็นเครือข่ายย่อยในระบบอินเทอร์เน็ตจำนวนมากเข้าด้วยกัน
โดยเครือข่ายย่อยอาจมีรูปแบบแต่ต่างกัน แต่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและทำงานร่วมกันได้
หลังจากนั้นรัฐบาลประเทศออสเตรเลียได้หาความช่วยเหลือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียโครงการ The International Development Plan (IDP) พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไทยขึ้นมาเมื่อปี พศ.2531 โดยให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโ,ยีแห่งเอเชีย ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของประเทศไทยในการเชืื่อมโยงไปยังเครื่องแม่ข่ายของมหาวิทยาลัยของ เมลเบิร์นและตั้งชื่อนี้ว่า Thai computer Science Network
ในปีพ. ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีและอิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์แห่งชาติได้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โดยใช้ X.25 ร่วมกับ MHS Net ไม่ใช้ในโปรโตคอล TCP/IP เรียกว่าเครือข่ายไทยสาร
( Thai social/Scientific Academic and Research Network- Thaisarn) พ. ศ. 2538 รัฐบาลไทยได้เปิดบริการ
อินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์โดยบริษัทอินเตอร์เน็ตแห่งประเทศไทยจำกัดโดยมีการสื่อสารแห่งประเทศไทยองค์โทรศัพท์
แห่งประเทศไทยและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
โดยใช้ X.25 ร่วมกับ MHS Net ไม่ใช้ในโปรโตคอล TCP/IP เรียกว่าเครือข่ายไทยสาร
( Thai social/Scientific Academic and Research Network- Thaisarn) พ. ศ. 2538 รัฐบาลไทยได้เปิดบริการ
อินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์โดยบริษัทอินเตอร์เน็ตแห่งประเทศไทยจำกัดโดยมีการสื่อสารแห่งประเทศไทยองค์โทรศัพท์
แห่งประเทศไทยและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) เป็นหุ้นส่วนโดยถือว่าเป็นบริษัทผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตรายแรกของประเทศไทย
2 หน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของประเทศไทย
2.1 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติหรือ N E C T E C ในฐานะหน่วยงานวิจัยค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลและในฐานะผู้ให้บริการจุดแลกเปลี่ยนสัญญาณภายในประเทศผู้ดูแลเครือข่าย Thailand SchoolNet GINet และในฐานะคณะอนุกรรมการด้านนโยบายอินเทอร์เน็ตสำหรับประเทศไทย
2.2 t h a n i c ในฐานะผู้ให้บริการจดทะเบียนชื่อโดเมนสัญญาณไทย (.th) และดูแลและระบบบริการซักถามชื่อโดเมนสัญชาติไทยซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของ ait
2.3 การสื่อสารแห่งประเทศไทย ในฐานะผู้ให้บริการวงจรสื่อสารระหว่างประเทศผู้ให้ใบอนุญาตและถอดถอนสิทธิการให้บริการของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISD) รวมทั้งเป็นผู้ให้บริการจุดแลกเปลี่ยนสัญญาณภายในประเทศ
2.4 ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ (ISP:Internet Service Providers)
ในฐานะผู้ให้บริการ Internet แก่บุคคลและองค์กรต่างๆ
2.5 ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตแบบไม่หวังกับ เช่น SchoolNet ที่ให้บริการโรงเรียนต่างๆทั่วประเทศไทยสาร ผู้ให้บริการเชิงวิจัยสำหรับสถานศึกษา uninet เครือข่ายอินเตอร์เน็ตของทบวงมหาวิทยาลัย MoeNet เครือข่ายของกระทรวงศึกษาธิการและ GINet เครือข่ายรัฐบาล
2.6 ผู้ให้บริการวงจรสื่อสารภายในประเทศ เช่น การสื่อสารแห่งประเทศไทยบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่นจำกัด (มหาชน) และบริษัทฯเอกชนอื่นๆ
โครงสร้างของระบบอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย (พ.ย.2545) isp ปัจจุบันปรับ ปัจจุบันประกอบด้วยผู้ ปัจจุบันประกอบด้วย ISP (Internet Service Provider) จำนวน 8 รายและผู้ให้บริการแบบไม่หวังผลกำไรอีก 4 รายผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตทุกรายต้องเช่าช่องสัญญาณจากผู้ให้บริการวงจรสื่อสารอีกต่อหนึ่ง ‘
ช่องสัญญาณการเชื่อมต่อภายในประเทศเราสามารถเลือกเช่าช่องสัญญาณได้โดยเสรีทางจากการสร้างสื่อสารแห่งประเทศไทยบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นต้น โดยวงจรของทุกรายจะเชื่อมต่อกับจุดแลกเปลี่ยนสัญญาณภายในประเทศเพื่อรับความเร็วในการแลกเปลี่ยนข้อมูลจุดแลกเปลี่ยนในปัจจุบันได้แก่ IIR ( internet information Reseaech) ของ nectec และ NIX (Natinal internet Excange ) โครงการสื่อสารแห่งประเทศไทยสัญญาณการเชื่อมต่อระหว่างประเทศผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะต้องผ่านการสื่อสารแห่งประเทศไทยเท่านั้นโดยผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตจะเชื่อมต่อสัญญาณเข้ากับ iGG ( International internet Gateway)
3.การทำงานของอินเตอร์เน็ต
สิ่งสำคัญในการทำงานของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตคือการที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้สามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่อยู่ทั่วโลกได้ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์อาจมีระบบที่ต่างกันแต่เมื่อใช้เชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ตก็สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลไฟล์ภาพและบริการต่างๆกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นอื่นได้อุปกรณ์สำคัญของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตประกอบด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Internet Network) โปรโตคอลทีซีพี/ไอพี tcp/IP Potocol และ IP Address
3. 1 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ฉันยังไม่ได้ทำการเชื่อมต่อโดยตรงกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้แต่เชื่อมต่อผ่านเครือข่ายย่อยโดยเครือข่ายได้มีการเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายของผู้ให้ปิดการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (ISP: internet Service Provider) สร้างโครงสร้างการเชื่อมต่อจะมีรูปแบบแตกต่างกันตามลักษณะการใช้งานเช่นองค์กรขนาดใหญ่จะใช้รูปแบบการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดยการใช้สายสัญญาณความเร็วสูงส่วนผู้ใช้ตามบ้านจะใช้การเชื่อมต่อผ่านคู่สายโทรศัพท์เป็นต้น
3.2 โปรโตคอล tcp/ IP
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงกับเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันสามารถต่อติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้กฎและข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูลเกี่ยวกันหรือเรียกอีกอย่างว่าใช้โปรโตคอลเดียวกันโดยใช้โปรโตคอลที่มีชื่อว่า TCP/IP
( Control Protocol/internet Internet Potocol) โปรโตคอลทีซีพี/ไอพี ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้สื่อสารกันในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยจะทำงานเป็นตัวกำหนดกฎในการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรแกรมประยุกต์แต่ละประเภทให้สามารถทำงานกับระบบอินเทอร์เน็ตได้ดังนั้นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อไม่ว่าจะเป็นเครื่องซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลเครื่องมือสื่อสารขนาดเล็กเช่นโทรศัพท์มือถือของอุปกรณ์เหล่านั้นรู้จักโปรโตคอล tcp /ก็สามารถส่งและรับข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้
3.3 IP Address
เครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยอาศัยโปรโตคอล tcp/IP ในการสื่อสารและมีความจำเป็นต้องการระบุหมายเลขประจำเครื่องที่แสดงถึงเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางในการติดต่อสื่อสารด้วยหมายเลขประจำเครื่องนี้จะซ้ำกันไม่ได้เรียกว่าหมายเลขเหล่านั้นว่า IP Address
4. บริการที่สำคัญในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เครื่องอินเตอร์เน็ตมีการเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วจนทำให้อัตราการขยายตัวของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นในการใช้งานผู้ใช้บริการมีความต้องการใช้งานบริการในรูปแบบต่างๆของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเช่นจดหมายอิเล็กทรอนิกส์อีเมลการสนทนา Chat การติดตามข่าวสาร New การใช้ทรัพยากรเครือข่ายร่วมกันเทคนิคการถ่ายโอนไฟล์ ftp และบริการอื่นอื่นที่เป็นบริการที่สำคัญในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตดังนี้
1.1 เวิลด์ไวด์เว็บ (www)
เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเครือข่ายใยแมงมุมในบางครั้งอาจเรียกว่า web เป็นบริการค้นหาและแสดงข้อความและข้อมูลที่ใช้หลักการของไฮเปอร์เท็กซ์ ถ้าเมินด้วยโปรโตคอล http ซึ่งมีลักษณะแบบ (client Server ) การใช้งานผู้ใช้จะลองขอข้อมูลจากเครื่องที่เปิดให้บริการข้อมูลที่เรียกว่า web Server โดยใช้โปรแกรมช่วยในการเปิดอ่านเอกสารดังกล่าวคือโปรแกรม web browser เอกสารที่ใช้ในโปรโตคอล http มีชื่อเรียกว่าเว็บเพจซึ่งสร้างมาจากภาษาเฉพาะในการสร้าง Hyper Text ที่เรียกว่าภาษา html
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
บริการส่งและรับข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งสู่อีกบุคคลหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจะใช้บริการที่เรียกว่า
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์บริการเอจะทำให้ผู้ใช้สามารถส่งและรับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็วไม่จำกัดระยะทางในการ
ส่งและรับไม่ว่าจะเป็นการสงครามประเทศหรือข้ามทวีปสมัยในผลิตเป็นบริการที่ได้รับความนิยมมากในเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตปัจจุบันจดหมายและเทคนิคสามารถส่งข้อความในรูปแบบของเอกสาร html รูปภาพไฟล์เสียงและวิดีโอ
ด้วยพืชใช้สารทำการส่งจดหมายและผลิตไปยังเซิร์ฟเวอร์ของผู้รับโดยใช้โปรโตคอล smtp Simple milk ทรานเฟอร์
โปรโตคอลผู้รับจดหมายเมื่อต้องการเปิดอ่านจดหมายจะเชื่อมต่อกับ Mail Server เพื่ออ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่
อยู่ในเซิร์ฟเวอร์ซึ่งอาจใช้โปรโตคอล POP IMAP หรือ HTTP
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์บริการเอจะทำให้ผู้ใช้สามารถส่งและรับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็วไม่จำกัดระยะทางในการ
ส่งและรับไม่ว่าจะเป็นการสงครามประเทศหรือข้ามทวีปสมัยในผลิตเป็นบริการที่ได้รับความนิยมมากในเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตปัจจุบันจดหมายและเทคนิคสามารถส่งข้อความในรูปแบบของเอกสาร html รูปภาพไฟล์เสียงและวิดีโอ
ด้วยพืชใช้สารทำการส่งจดหมายและผลิตไปยังเซิร์ฟเวอร์ของผู้รับโดยใช้โปรโตคอล smtp Simple milk ทรานเฟอร์
โปรโตคอลผู้รับจดหมายเมื่อต้องการเปิดอ่านจดหมายจะเชื่อมต่อกับ Mail Server เพื่ออ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่
อยู่ในเซิร์ฟเวอร์ซึ่งอาจใช้โปรโตคอล POP IMAP หรือ HTTP
4.3 การสนทนาออนไลน์
เป็นบริการในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตอีกอย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมากและการสนทนาออนไลน์เป็นบริการ
ที่สามารถทำให้เช่าที่อยู่ไกลกันข้ามประเทศสามารถพูดคุยสนทนากันได้ด้วยการพิมพ์ข้อความลงไปในโปรแกรม
สำหรับการสนทนาผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยไม่ต้องจ่ายค่าโทรศัพท์ทางไกลอาจจะอยู่ในรูปแบบที่คุย 2 คน
ที่เรียกว่าท้องหรือการคุยเป็นกลุ่มที่เรียกว่าแชทโปรแกรมให้บริการสนทนาออนไลน์ได้แก่โปรแกรม IRC โปรแกรม
icq และโปรแกรม MSN เป็นต้น
ที่สามารถทำให้เช่าที่อยู่ไกลกันข้ามประเทศสามารถพูดคุยสนทนากันได้ด้วยการพิมพ์ข้อความลงไปในโปรแกรม
สำหรับการสนทนาผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยไม่ต้องจ่ายค่าโทรศัพท์ทางไกลอาจจะอยู่ในรูปแบบที่คุย 2 คน
ที่เรียกว่าท้องหรือการคุยเป็นกลุ่มที่เรียกว่าแชทโปรแกรมให้บริการสนทนาออนไลน์ได้แก่โปรแกรม IRC โปรแกรม
icq และโปรแกรม MSN เป็นต้น
ปัจจุบันการสนทนาออนไลน์นอกจากการสนทนาโดยการพิมพ์ข้อความแล้วยังสามารถพูดคุยด้วยเสียงคล้ายกับการใช้
โทรศัพท์โดยผู้สนทนาจะต้องมีการติดตั้งลำโพงและไมโครโฟนพูดสนทนาต้องการเห็นอากัปกิริยาของผู้ร่วมสนทนา
ก็สามารถติดตั้งกล้องเพื่อใช้ในการสนทนาได้
โทรศัพท์โดยผู้สนทนาจะต้องมีการติดตั้งลำโพงและไมโครโฟนพูดสนทนาต้องการเห็นอากัปกิริยาของผู้ร่วมสนทนา
ก็สามารถติดตั้งกล้องเพื่อใช้ในการสนทนาได้
5.การเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
5.1 การเชื่อมต่อส่วนบุคคล
เป็นการเชื่อมต่อของบุคคลธรรมดาทั่วไปซึ่งสามารถขอเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
เชื่อมต่อกันจากที่บ้านหรือสำนักงานโดยใช้ช่องทางการเชื่อมต่อผ่านทางสายโทรศัพท์ร่วมกับอุปกรณ์ Modem
การเชื่อมต่อลักษณะนี้จะเสียค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนักเราเรียกการเชื่อมต่อแบบนี้ว่า การเชื่อมต่อแบบ Dial-Up แต่การ
เชื่อมต่อแบบ Dial-Up อาจจะมีปัญหาในเรื่องความเร็วในการเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
เชื่อมต่อกันจากที่บ้านหรือสำนักงานโดยใช้ช่องทางการเชื่อมต่อผ่านทางสายโทรศัพท์ร่วมกับอุปกรณ์ Modem
การเชื่อมต่อลักษณะนี้จะเสียค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนักเราเรียกการเชื่อมต่อแบบนี้ว่า การเชื่อมต่อแบบ Dial-Up แต่การ
เชื่อมต่อแบบ Dial-Up อาจจะมีปัญหาในเรื่องความเร็วในการเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
5.2 การเชื่อมต่อแบบองค์กร
เป็นการเชื่อมต่อขององค์กรให้มีการจัดตั้งระบบเครือข่ายใช้งานภายในองค์กรอยู่แล้วจะสามารถนำเครื่อง
แม่ข่าย Server ของเครือข่ายนั้นเข้าเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต isp เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
ซึ่งผู้ใช้งานจะไม่ต้องยุ่งยากในการกำหนดค่าเกี่ยวกับการเชื่อมต่อเพียงแต่เปิดคอมพิวเตอร์แล้วระบบที่สำนักงานติด
ตั้งไว้ก็จะเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตให้โดยอัตโนมัติเครื่องคอมพิวเตอร์ในสำนักงานส่วนใหญ่จะเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย
ของหน่วยงานโดยผ่านระบบเครือข่ายท้องถิ่นหรือแลนอยู่แล้วในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ตามปกติแล้วหากเป็นหน่วยงานหรือสำนักงานใหญ่ๆจะเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานกับผู้ให้บริการ
sap ผ่านสายนำสัญญาณความเร็วสูง High Speed แผนที่จะเชื่อมต่อผ่านโมเด็มแต่หากว่าคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่ใน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานมีไม่มากนักก็อาจจะใช้การเชื่อมต่อผ่านโมเด็มก็ได้เพราะจะทำให้ลดค่าใช้จ่าย
ในการเชื่อมต่อระบบ
แม่ข่าย Server ของเครือข่ายนั้นเข้าเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต isp เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
ซึ่งผู้ใช้งานจะไม่ต้องยุ่งยากในการกำหนดค่าเกี่ยวกับการเชื่อมต่อเพียงแต่เปิดคอมพิวเตอร์แล้วระบบที่สำนักงานติด
ตั้งไว้ก็จะเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตให้โดยอัตโนมัติเครื่องคอมพิวเตอร์ในสำนักงานส่วนใหญ่จะเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย
ของหน่วยงานโดยผ่านระบบเครือข่ายท้องถิ่นหรือแลนอยู่แล้วในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ตามปกติแล้วหากเป็นหน่วยงานหรือสำนักงานใหญ่ๆจะเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานกับผู้ให้บริการ
sap ผ่านสายนำสัญญาณความเร็วสูง High Speed แผนที่จะเชื่อมต่อผ่านโมเด็มแต่หากว่าคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่ใน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานมีไม่มากนักก็อาจจะใช้การเชื่อมต่อผ่านโมเด็มก็ได้เพราะจะทำให้ลดค่าใช้จ่าย
ในการเชื่อมต่อระบบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น